ปัญหาการขาดบุคคลากรเก่ง ๆ (Talents) ไม่ได้เป็นเพียงปัญหาระดับองค์กร แต่เป็นวิกฤตระดับโลก ซึ่งเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน
เมื่อวันจันทร์ (18 ก.ค.) ผมได้รับเชิญไปร่วมงาน Roundtable Lunch: Reimagining Education to Employment Pathways: Insights from Global Workforce and Implications for Students, Institutions of Higher Learning, Employers and Government ซึ่งจัดโดย Wiley ร่วมกับ Unilever ซึ่งประเด็นหลักที่คุยกันคือเรื่อง Solving the Talent Crisis
ในงานแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก ๆ คือ
- Global Workforce Insights ซึ่งนำเสนอโดย Mr. Mark Allin, President and CEO, Wiley ซึ่งบินมาจากอเมริกาเพื่องานนี้
- Panel Discussion: Insights into Action ซึ่งมีตัวแทนจากทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคธุรกิจ
ซึ่งผมจะแบ่งสรุปเนื้อหาที่น่าสนใจเป็น 2 ตอน เพื่อไม่ให้ยาวเกินไป
Global Workforce Insights
Insights
- มหาวิทยาลัยไม่ได้ผลิตบัณฑิตที่มีทักษะที่จะประสบความสำเร็จในการทำงาน
- บริษัทต้องการพนักงานทีมีอยู่มีทักษะที่หลากหลายในการทำงาน
- ROI จากภาครัฐและธุรกิจใน R&D ลดลง
- ระบบการพัฒนาบุคคลากรของภาคการศึกษาไม่สอดคล้องกับภาคธุรกิจ
Recommendation 1: กระตุ้นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย กับภาคธุรกิจเพื่อกำหนด Competency แนวทางพัฒนา ในทิศทางความต้องการของเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นใหม่
- Strategic, high growth area
- Multi-sector application
- การพัฒนาการศึกษาในแต่ละช่วงตลอดชีวิต (Life long learning) ตั้งแต่อาชีวะ, อุดมศึกษา (ปริญญาตรี, โท, เอก) จนถึงการพัฒนาในการทำงาน
- ตัวอย่าง: ในอเมริกาตอนนี้ขาด Data Scientist กว่า 1.5 ล้านตำแหน่ง มีทีมที่แก้ปัญหานี้โดยเฉพาะ ประกอบด้วยภาคธุรกิจ (IBM, pwc, TIAA, Humana) ภาคการศึกษา (NYU, CUNY, SUNY) และภาครัฐ (NYC department of Education) โดยกำหนดแผนการพัฒนา และตัววัดชัดเจน การพัฒนามีความสอดคล้องระหว่างหลักสูตรกับความต้องการของธุรกิจอย่างน้อย 3 กลุ่มอุตสาหกรรม เป็นต้น
Recommendation 2: สนับสนุนให้ที่ทำงานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะใหม่ ๆ (a center of education, reskilling and upskilling)
- Maintain nimble, adaptive workforce
- Focus on key set of transferable innovation skills
- Not just corporate but also researchers that are part of innovation ecosystem
- Innovation “Tool Kit” (OECD)
- Management and Finance
- Operations
- Managing Teams
- Leadership and Communication
- Digital Literacy
- Diversity and Inclusiveness
Looking Ahead
- วิกฤต Talent เป็นวิกฤตระดับโลก ซึ่งส่งผลกระทบทั้งภาคการศึกษา ภาคธุรกิจ และนวัตกรรม
- การแก้ปัญหาต้องใช้ความร่วมมือแบบใหม่ และการมีส่วนร่วมจาก Stakeholders ทุกส่วน
- ยังมีโอกาสอีกมากในการพัฒนาซึ่งจะส่งผลโดยตรงกับเศรษฐกิจและสังคม
สำหรับช่วง Panel Discussion สามารถอ่านต่อได้ที่นี่ครับ
Roundtable Lunch: Solving the Talent Crisis (part 2/2)
________________________________________________________________________________
ถ้าชอบบทความนี้ คุณอาจจะสนใจ Monday’s Spark with Chutchapol.com ซึ่งผมคัดไอเดียเจ๋งๆ คำถามโดนๆ มาช่วยกระตุ้นพลังการทำงานทุกเช้าวันจันทร์
Please note: I reserve the right to delete comments that are offensive or off-topic.